Bitgae

한국과 태국의 사진가들이 한 자리에 모여 그들의 다양한 작품을 선 보이는 이번 사진전에 참가하게 되어 무척 기쁩니다.
사진이라는 매체는 국경과 종교, 민족을 넘어서 “시선”이라는 인류의 공통된 언어를 통해 세상의 다양성을 넘어세상의 깊이와 넓이를 공유하고 인간의 삶이 얼마큼 다른지가 아니라 얼마만큼 같은지를 찾아가는 여정을 이루게해줍니다. 같이 참여한 작가님들을 통해 그 다양성과 공통 분모를 같이 찾아보고자 합니다. 이번 전시를 통해 저는 대한민국의 슬프고 아픈 과거를 꺼내 보입니다. 좋은 이야기만 들어도 모자란 인생에서 굳이 그 이야기를 꺼내는 것은 그 이야기 속에서 우리의 미래를 설계해보고 더 나은 세상에 근접하고자 하는 바램에서 시작 되었습니다.
태국의 멋진 사진가들과 함께 할 수 있게 됨을 다시 영광으로 생각하며 이 자리를 만들어 주신 태국 한국 문화원과 권학봉사진가 그리고 모든 관계자 여러분께 깊은 감사를 드립니다.
รู้สึกดีใจมากครับ ที่ได้ร่วมนิทรรศการภาพถ่ายครั้งนี้ที่นำเสนอภาพถ่ายที่หลากหลายของช่างภาพจากเกาหลีและไทย
สื่อที่เรียกว่าภาพถ่ายช่วยแบ่งปันความลึกกว้างของโลกเหนือความแตกต่างผ่านภาษาสากลที่เรียกว่า ‘การมองเห็น’ ที่ก้าวจ้ามเขตแดน ศาสนา และชนชาติ และช่วยให้การเดินทางที่ค้นหาว่าชีวิตมนุษย์เหมือนกันขนาดไหน ไม่ใช่แตกต่างกันเท่าไรนั้นสำเร็จ ผมอยากจะหาความแตกต่างและความเหมือนผ่านช่างภาพที่ร่วมงานครั้งนี้ครับ ในนิทรรศการครั้งนี้ผมหยิบยกอดีตที่เจ็บปวดและโศกเศร้าของสาธารณรัฐเกาหลีครับ จุดเริ่มต้นของผทที่หยิบเรื่องนี้มาแม้ในชีวิตควรจะฟังแต่เรื่องราวดีๆนั้นผมหวังให้ทุกคนวางแผนอนาคตและก้าวสู่โลกที่ดีกว่าจากเรื่องราวที่ผมเสนอครับ
ผมรู้สึกเป็นเกียรติที่ได้ร่วมงานครั้งนี้กับช่างภาพของไทย และขอขอบคุณศูนย์วัฒนธรรมเกาหลี ช่างภาพควอนฮักบง และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่สร้างโอกาศดีๆให้ครับ
빗개,
그 낯선 풍경 속으로...
김성민| 사진가,사진이론
유별남은 세계 각지에 있는 다양한 삶들이 가지고 있는 상이한 측면 들을 사진적 기록으로 보여주고 있는 다큐멘터리 사진가이다. 그는 열악한 상황에서도 삶의 끈을 놓지 않고 최선을 다하며 살아가는 오지의 사람들의 삶 속에 들어가, 그들의 문제를 적극적으로 해석해서 독자들에게 전달해 왔다는 점에서 전통 적 의미의 다큐멘터리 사진가이다. 하지만 이번 ‘빗개’ 전시에서 그가 시도하는 것은 과거 그의 발자취와는 사뭇 다른 접근과 의미를 가진다.
유별남의 ‘빗개’를 보았을 때의 첫 느낌은 한마디로 ‘낯설음’이다. 현재의 제주에서 4.3을 전통적 의미의 다큐멘터리 사진으로 해석한다는 것은 현실적으로 쉽지 않은 일이다. 시간이 흐르면서 피로 물 들었던
대지에는 새싹이 돋아났고, 나무가 무성하게 자라났다. 공항 건설을 포함한 전 지역의 관광지 개발을 통 해 제주의 피비린내 나던 대지는 매력적인 이색적 풍경으로 대체되었다. 이 지점에서 우리는 다큐멘터
리 사진의 가능성과 불가능성이라는 극단적 긴장과 마주하게 된다.
이 긴장을 해소하기 위해 작가가 선택한 것은 전통적 의미와는 다른 새로운 방식의 ‘감정이입’이다. 그는 ‘빗개’의 사진들 속에 사진가의 시점 을 과거의 누군가가 풍경을 바라보았던 그 지점 속으로 ‘밀어 넣
는다’. 그 순간, 우리에게 익숙했던 아름답고 이국적인 모습의 제주는 전혀 생소한 무엇인가 로 옷을 바꾸어 입는다.
페드로 메이어(PEDRO MEYER)는 촬영한 사진 위에 다른 요소들을 갖다 붙이는 가상의 세계를 통해서 완벽한 사회적 메시지를 만들어 내려고 하였다. 그리 고 그것을 다큐멘터리 사진의 연장으로 보았다.
하지만 ‘빗개’에서 유별남은 작가의 다큐멘터리적 해석을 관객들에게 강요하지 않는다. 그보다는 자신의 풍 경 속으로 우리를 초대하여 역사 속에 감추어졌던 수많은 공백들을 함께 채워갈 것을 그는 제안한다. 그의 사진 속에서 우리는 제주의 역사라는 과거와 작가 가 풍경을 마주했던 시점, 그리고 역사적 과제를 풀어야 할 미래를 동시에 만나게 된다. 이런 점에서 그의 사진은 전통적 시간 개념을 단호히 거부한다. ‘빗개’는 4.3이 발생한 후 토벌대와 무장대의 공격을 피해 제주의 중산간지역으로 피난했던 사람들이 자신들을 보호하기 위해 망을세웠던 10대 소년들을 말 한다. 피난민들은 언제 자신들을 덮칠지 모르는 죽음의 그림자를 피하기 위해 어린 소년들을 망지기로 세우고, 불안한 밤을 보내야 했다. 유별남의 작품은 바로 이 빗개 소년들의 시선으로 바라 본 제주의 풍경이다. 왜 숨어 있어야 하는지, 그리고 왜 그토록 많은 사람들이 아무런 이유 없이 죽어야 하는지도 모른 채 망을 보고 있던 아이에게 제주의 풍경은 어떤 의미로 다가왔을까? 수풀과 갈대숲 사이로 내다보이는 아무도 보이지 않는 무심(無心)한 풍경은 아이에게 안전한 밤과 잠시의 평화를 의미하는 것이었으리라. 반
면에 풍경 속에 일어나는 작은 바람 소리나 동물들의 움직임조차 그에게는 죽음의 공포와 불안을 의 미했을 것이다. 이런 점에서 빗개의 사진 속에서 드러나는 지배적인 ‘불안감’은 빗개 소년의 그것과 다르
지 않다.
존 버거가 이야기한 것처럼, 사진 매체의 가장 큰 특징 가운데 하나는 소리의 제거, 즉 묵음(默音)이다. 사진이 촬영되는 순간 시각 이외의 모든 감각들이 사 라지지만, 가장 두드러진 현상은 소리의 죽음이다.
이런 사진적 속성은 오랜 시간 동안 4.3에 대해 아무런 소리도 내지 못하도록 강요받았던 제주민들의 삶 을 지독히도 닮아 있다. 그러나 권력으로 기억을 소거한다고 해도 그것을 영원히 은폐한다는 것이 불가
능함을 우리는 역사를 통해 이미 잘 알고 있다. 상처 난 곳에서 새 살이 돋듯이 살해된 기억은 되살아나 더 강한 모습으로 무장한다. 무심한 듯 보이는 그의 제주 풍경들은 아무 영문도 모른 채 운명을 달리했
던 수많은 아기들와 아이들, 만삭의 아낙네와 노인들과 같이 아무 저항조차 할 수 없었던 사람들의 억울한 죽음을 상기시킨다. 바람에 팔랑이는 나뭇잎에서, 멀 리 보이는 노란색으로 물든 유채꽃 속에서, 완
만한 오름 언덕 위에서, 새벽의 여명 안에서 수많은 죽음들이 그 모습을 드러낸다. ‘속섬허라이(조용하라)’ 라 고 강요되었던 침묵의 역사와 그 고통이 ‘빗개’의 감춤과 드러냄이라는 역설을 통해 우리에게 이
야기를 걸어오는 것이다.
어둠이 깊어질수록 통증은 깊어지네 홀로 헛것들과 싸우며 새벽을 기다리던 그래본 적 없는 나는 그 깊은 고통을 진정 알길 없네 허영선이 <무명천 할머니>에서 노래한 것처럼 우리는 진정 그들의 고통을 헤아릴 수 없다. 유별남의 ‘빗개’ 작업 또한 우리에게 전적인 이해나 동감을 구하기 보다는, 사진 속에 남겨진 수많은 여백을 채워가길 요구한다. 이런 의미에서 유별남의 ‘빗개’는 여전히 다큐멘터리 사진의 ‘소통’을 고집한다. 이는 단지 그가 특정한 지역을, 혹은 역사적의미를 가진 장소를 촬영했기 때문이 아니라, ‘빗개’를 통해서 자칫 기억 저편에 묻혀버릴 수도 있었던 ‘역사적 현실’에 동참할 수 있는 여지를 남기기 때문이다. 소설 <순이 삼촌>의 주인공이 혼자 살아남 았다는 죄책감과 자신에게 남겨진 무거운 짐을 이기지 못하고 끝내학살 현장이었 던 제주 밭으로 돌아가 스스로 목숨을 끊었듯이, 제주 4.3은 아직도 끝나지 않은 역사의 시간이다. 이런 이유에서 작가는 특
정한 사진적 해석에 의존해서 4.3 을 바라보기 보다는 역사적 기억이 어떤 특정한 방향으로 함몰되지 않기를 기대하는 듯하다.
Bitgae,
สู่ทิวทัศน์ที่แปลกตา
คิมซ็องมิน / ช่างภาพ, ทฤษฎีภาพ
ยู บย็อลนัม เป็นช่างภาพสารคดีที่นำเสนอรูปภาพที่แสดงถึงความแตกต่างของการใช้ชีวิตในทั่วโลก เขาเข้าไปในชีวิตที่ลำบากแสนเข็ญในถื่นทุรกันดารที่แม้จะยากลำบากแค่ไหนก็ใช้ชีวิตอย่างเต็มที่ และเขากระตือรือร้นส่งต่อปัญหาของพวกเขาให้กับผู้ชม ในจุดนี้ที่ทำให้เขาอยู่ในข่ายช่างภาพสารคดี แต่ในการจัดแสดงภาพถ่าย ‘Bitgae’ ในครั้งนี้ เขานำเสนอในสิ่งที่ไม่ตรงรอยเท้าเขาสักเท่าไร
ความรู้สึกที่ชม ‘Bitgae’ ของ ยู บย็อลนัม ในครั้งแรก บอกได้ว่ามันคือ ‘แปลกตา’ การที่นำเสนอความหมายทางประวัติศาสตร์ของเหตุการณ์ 3 เมษายนที่เกาะเจจูในปัจจุบันนั้นเป็นเรื่องที่ทำได้ยาก ในพื้นที่เคยนองเลือด ตอนนี้มีหญ้า มีต้นไม้เติบโตขึ้น พื้นดินที่เคยคาวเลือก ปัจจุบันได้มีทิวทัศน์แปลกใหม่ผ่านการสร้างสถานที่ท่องเที่ยว รวมถึงการสร้างสนามบิน ในจุดนี้เราจะเผชิญหน้ากับความตึงเครียดระหว่างความเป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้ของภาพถ่ายสารคดี วิธีที่ช่างภาพเลือกเพื่อลดความตึงเครียดคือการ ‘ดึงอารมณ์ร่วม’ ซึ่งเป็นวิธีแปลกใหม่ต่างจากวิธีแบบดั้งเดิม เขาดันคนทุกคนไปสู่จุดที่คนๆหนึ่งในช่วงเวลานั้นมองอยู่ ทำให้เจจูที่เคยคุ้นตาที่เคยสวยงาม เปลี่ยนเป็นแปลกตาในทันที
PEDRO MEYER พยายามที่จะสร้างข้อความทางสังคมที่สมบูรณ์ผ่านทางโลกเสมือนจริงที่เชื่อมโยงองค์ประกอบต่างๆบนภาพที่ถ่าย และมองว่านั่นเป็นแนวทางสําหรับภาพถ่ายสารคดี
อย่างไรก็ตามใน 'บิทแก' ช่างภาพไม่ได้บังคับให้ผู้ชมตีความทางสารคดี แต่เขาเสนอให้เราเข้าไปในทิวทัศน์ของตนเองและเติมช่องว่างมากมายที่ซ่อนไว้ในประวัติศาสตร์ซะมากกว่า ในภาพถ่ายของเขาเราจะเจออดีตที่เรียกว่าประวัติศาสตร์ของเจจู ช่วงเวลาที่ช่างภาพพบกับทิวทัศน์ และอนคตที่ต้องแก้ปัญหาทางประวัติศาสตรฺพร้อมๆกัน ณ จุดนี้ภาพถ่ายของเขาปฏิเสธแนวคิดเวลาแบบดั้งเดิมอย่างเด็ดขาด ‘บิบแก" หมายถึงเด็กชายที่ผู้หลบภัยส่งให้ไปสังเกตการณ์หลังจากเกิดเหตุการณ์วันที่ 3 เมษายน เรื่องได้รับความเสียหายเพื่อปกป้องตัวเอง ผู้ลี้ภัยได้ส่งเด็กๆไปเฝ้าสังเกตการณ์เพื่อหลบเงาแห่งความตายที่ไม่รู้จะมาถึงตนเองเมื่อไร และต้องอยู่อย่างไม่สบายใจทุกค่ำคืน ผลงานของ ยูบย็อลนัม เป็นภาพวิวของเจจูโดยมองด้วยสายตาของเด็กชายบิทแกเหล่านี้ เด็กที่เฝ้าดูโดยที่ไม่รู้ว่าทำไมถึงต้องซ่อนตัว ทําไมหลายๆคนถึงตายโดยไม่รู้เหตุผลอะไรเลย มองทิวทัศน์เจจูนี้โดยที่คิดอะไรบ้าง ทิวทัศน์ที่มองไม่เห็นใครผ่านต้นอ้อและต้นหญ้า หมายถึงคืนที่ปลอดภัยและความสงบเพียงชั่วครู่สำหรับเด็กๆเหล่านั้น ในทางกลับกันเสียงลมพัดเบาๆและการเคลื่อนไหวของสัตว์อาจหมายถึงความกลัวความตาย และความไม่สบายใจสำหรับพวกเขา "ความไม่สงบ" ที่โดดเด่นในภาพถ่ายของบิทแกเหล่านี้ไม่แตกต่างจากเด็กชายในตอนนั้นเลย
จากคำกล่าวของ John Berger ที่ว่าลักษณะเฉพาะตัวของภาพถ่ายอย่างหนึ่งคือการตัดเสียงออก เมื่อกดชัตเตอร์สัมผัสทุกอย่างจะหายไปยกเว้นการมอง แต่การตายของเสียงนั้นจะชัดเจนที่สุด คุณสมบัติของภาพถ่ายนี้ช่างเหมือนกับชีวิตของชาวเกาะเจจูที่ถูกบังคับให้ไม่ให้พูดถึงเหตุการณ์วันที่ 3 เมษายน แต่เรารู้ซึ้งผ่านประวัติศาสตร์แล้วว่าแม้จะใช้อำนาจลบล้างความทรงจำไปแต่มันก็ไม่สามารถปิดเป็นความลับไปชั่วกาล ความทรงจำที่รื้อฟื้นขึ้นใหม่มีพลังมากขึ่นกว่าเดิม ภาพถ่ายของเขาที่ดูเหมือนไม่ได้มีอะไรรื้ฟื้นความตายของเด็กๆ คนท้อง ผู้หญิง และคนแก่ซึ่งไม่สามารถต่อสู้อะไรได้เลย จากใบไม้ที่สั่นไหวตามสายลม จากดอกคาโนลาสีเหลืองที่เห็นไกลๆ บนเนินนุ่มนวล ในรุ่งอรุณเช้าตรู่ สะท้อนความตายของใครหลายคน ประวัติศาสตร์และความเจ็บปวดที่บังคับให้ ‘เงียบไว้’ ทักทายพวกเราผ่านการเปิดเผยและซ่อนเร้นของ ‘บิทแก’
ตามที่ ฮอ ยองซอน ร้องในเพลงของเขาเองว่า ฉันไม่เคยสัมผัสกับยิ่งดึกยิ่งเจ็บปวด สู้กับภาพหลอนและรอรุ่งอรุณเพียงลำพัง ฉันจึงไม่สามารถรู้ซึ้งถึงความเจ็บปวดของพวกเขาอย่างแท้จริง เราไม่สามารถรู้ถึงความทุกข์ทรมานของพวกเขาได้อย่างแท้จริง ‘บิทแก’ ของ ยู บย็อลนัมเองก็ไม่ได้ขอให้เราเข้าใจหรือลึกซึ้งไปกับมัน แต่ต้องการให้เราเติมช่องว่างในภาพไปด้วยกัน ทำให้ ‘บิทแก’ ของยู บย็อลนัม เป็นภาพถ่ายสารคดีที่เน้นการ ‘สื่อสาร’ ไม่ใช่เพียงเพราะเขาเกิดในพื้นที่นั้น หรือเขาถ่ายทำพื้นที่ประวัติศาสตร์ แต่เป็นเพราะเขาเปิดโอกาสให้คนเข้าร่วมกับประวัติศาสตร์ที่อาจถูกลืมหายไปผ่าน ‘บิทแก’ เหตุการณ์วันที่ 3 เมษายนยังไม่ได้จบลงสนิทเหมือนกับที่ในนิยายเรื่อง ‘Aunt Suni’ ตัวเอกที่ทนความรู้สึกผิดที่ตนรอดมาได้เพียงคนเดียว และทนน้ำหนักภาระที่เหลืออยู่ที่ตนไม่ไหว จึงตัดสินใจกลับไปพื้นที่เกิดเหตุการณ์และฆ่าตัวตายที่นั่น บนเหตุผลเช่นนี้ทำให้ช่างภาพไม่ได้หวังให้มองเหตุการณ์วันที่ 3 เมษายนโดยอิงจากการตีความภาพถ่าย และหวังให้ความทรงจำทางประวัติศาสตร์ไม่เอนเอียงไปทางด้านใดด้านหนึ่งซะมากกว่า
Bitgae,
Into the unfamiliar scenery...
Yoo Beylnam is a photographer who has been capturing and recording various aspects of different lives all over the world. He is a traditional documentary photographer in the sense that he has entered the lives of people in hinterlands who struggle against adversity, and has actively interpreted and communicated their difficulties to his audience. However, what he tries in the Bitgae exhibit takes an approach and a meaning quite
different from his past tracks.
The first thing you may feel when facing Bitgae is, in a nutshell, “unfamiliarity.” In fact, it is never easy to interpret the Jeju uprising using traditional documentary photography in the present Jeju Island. As time has passed, the soil soaked in blood has been covered with sprouts and woods. Thanks to the local tourism projects, including the construction of an airport, the blood-soaked earth has been replaced with attractive scenery. At this point, we meet the extreme tension between the possibility and the impossibility of documentary photography. To resolve this, the photographer chooses a whole new way of empathizing that is
distinguished from its conventional meaning. In the Bitgae photos, he “pushes” the photographer’s viewpoint into a scenery that must have been
seen by someone in the past, and that is the moment when the beautiful, exotic and familiar Jeju becomes something totally strange. Pedro Meyer has tried to mold a perfect social message through a virtual world he creates by attaching a variety of elements to his photos, believing these artworks to be on the spectrum of documentary photography.
However, Yoo does not force his version of documentary to his audience.
Rather, he invites us to his scenery and suggests together filling in countless “gaps” hidden in history. In his works, we can see the Jeju history, the moment that the photographer meets the scenery, and the future in which we need to pay off historical debts, all at the same time. In this respect, his photos reject a conventional concept of time.
Bitgae refers to those teenaged boys who stood guard by refugees to protect themselves from the punitive forces and armed groups after the Jeju uprising on April 3, 1948. To escape from the shadow of death, the refugees had young boys on guard, spending the nights fearing for their lives. Yoo Beylnam’s pieces are the scenery stared at through the eyes of those Bitgae boys. How did the scenery look to the Bitgae boys who stood guard without knowing why they had to hide and why so many people were killed for no reason? Probably, the emotionless scenery among woods and reeds where no one was in sight meant safety and temporary peace to them. Meanwhile, even the quietest sounds of wind or animals probably meant terror and fear of death. Therefore, the overwhelming anxiety exhibited in the Bitgae photos must not be so different from that of Bitgae boys.
As John Burger has noted, one of the primary characteristics of photography is muting the sound; that is, the absence of sound. When the picture is taken, all the senses except sight disappear, but the most outstanding phenomenon is the death of sound. This characteristic resembles lives of Jeju people who had been silenced for a long time. But we all know through history that, even if those in power try to erase memory, it is impossible to cover up the facts forever. Just like new skin grown on a
wound, erased memories come back to life and become even stronger. The emotionless-looking scenery taken in his photos reminds us of the
undeserved deaths of the babies and children killed knowing nothing, and of parturient women and the elderly who were not able to make a move to
fight. Countless deaths are exposed on the leaves swinging in the winds, among the blooming yellow rape flowers from a distance, on the hill with a
gentle slope and in the light during the daybreak. Using the irony of hiding and exposing Bitgae, the history of silence, as forced to keep quiet by
saying “sokseomharai (Be quiet.),” and the pain followed, is speaking directly to us.
As darkness deepens, pain deepens Alone, awaited dawn fighting phantoms Never been there, done that myself No way to fathom the depth As Heo Yeong-seon writes in her poem “Mumyeongcheon Halmeoni (acotton cloth lady)”, we cannot truly understand their pain. Yoo Beylnam’s works demand neither full understanding nor full empathy but just our effort to fill in the empty space left in his photos. In this sense, Bitgae is still asking for communication as done with documentary photography. It is not just because he photographed certain regions or historical locations, but because, using Bitgae, he is striving to leave room for our participation in the “historical present” that could have been buried in the memory of a few. In the novel “Suni Samchon (Uncle Suni)”, the protagonist was not able to fight her feelings of guilt as a survivor and burden left to her and, in the end, committed suicide in the field in Jeju where the massacre occurred. As with this story, the Jeju uprising or Jeju massacre has not ended and is a continuing history. For this reason, instead of having the audience interpret the Jeju uprising relying on some photographs, Yoo seems to hope that the historical memory of the Jeju uprising is not lost in
a certain direction by a certain force.